เทศบาลตำบลแร่ | วันนี้


























Please make a selection.

การจัดการองค์การเรียนรู้เทศบาลตำแร่ อำเภอพังโคน จังหวัดสกลนครการส่งเสริมการจัดการความรู้ (Knowledge Management) การพัฒนาส่วนราชการให้เป็น“องค์การแห่งการเรียนรู้”โดยอาศัยกระบวนการ“การจัดการความรู้”ในยุคที่มีการแข่งขันและมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่วนราชการต้องสร้างให้ข้าราชการในส่วนราชการมีความรู้เข้มแข็งและสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองอย่างเป็นระบบเพื่อช่วยผลักดันส่วน ราชการให้บรรลุผลตามยุทธศาสตร์30โดยในขั้นตอนของการแปลงแผนการปฏิบัติราชการสู่การปฏิบัติจริงนั้นประกอบด้วยองค์ประกอบหลายประการที่จะช่วยผลักดันสู่การเป็นองค์การ แห่งการเรียนรู้ ดังนี้

1. การปรับโครงสร้างองค์การพื้นฐานเพื่อรองรับบุคลากรให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันได้สะดวก เช่น สถานที่ เครื่องมือ อุปกรณ์ต่างๆ
2. การปรับขั้นตอนการทำงานให้รวดเร็ว และกระชับมากขึ้น เพื่อเอื้อต่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว และสะดวกยิ่งขึ้น
3. การพัฒนาคนให้มีขีดความสามารถ มีระบบการยกย่องชมเชย และการให้รางวัลที่เอื้อต่อการจัดการความรู้ และมีวัฒนธรรมการทำงานเชิงรุก และวัฒนธรรมของการแลกเปลี่ยน และแบ่งปันความรู้ระหว่างบุคลากรในองค์การ
4. ปรับกฎระเบียบ และกฎหมายที่เป็นอุปสรรคต่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ดังที่ พระราชกฤษฎีการว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ๒๕๔๖ มาตรา ๑๑ กำหนดให้ส่วนราชการ มีหน้าที่พัฒนาความรู้ในองค์กร เพื่อให้มีลักษณะเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ โดยต้องรับรู้ข้อมูลข่าวสารและสามารถประมวลความรู้ในด้านต่างๆ เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติราชการได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว เหมาะสมกับสถานการณ์ รวมทั้งต้องส่งเสริมและพัฒนาความรู้ความสามารถ สร้างวิสัยทัศน์ และปรับเปลี่ยนทัศนคติของข้าราชการในสังกัดให้เป็นบุคลากรที่มีประสิทธิภาพ และมีการเรียนรู้ร่วมกัน  การจัดการความรู้ในองค์การ31 ต้องดำเนินการ 3 ระดับ คือ 
(1) การจัดการความรู้ในองค์การ 
(2) การจัดการความรู้ในกลุ่มเพื่อนร่วมงาน 
(3) การจัดการความรู้ในตัวบุคคล ซึ่งเป็นการนำข้อมูลมาประมวลเข้าสู่ระบบสารสนเทศ และเป็นการจัดการความรู้สมัยใหม่ในยุคของสังคมแห่งการเรียนรู้

 

การจัดการองค์ความรู้ KM เทศบาลตำบลแร่

1.กฎกระทรวง ฉบับที่ 15 (พ.ศ. 2560) เครื่องแบบเจ้าหน้าที่ท้องถิ่น

2.คู่มือการกำหนดสมรรถนะผู้บริหาร

3.คู่มือการกำหนดสมรรถนะหลัก

4.คู่มือการกำหนดสมรรถนะประจำตำแหน่ง

5.คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการ

6.คู่มือการจัดทำควบคุมภายใน

7.คู่มือการปฏิบัติงานจัดเก็บรายได้

8.มาตรฐานกำหนดตำแหน่งระบบแท่ง

9.KM เกร็ดความรู้ภาษีป้าย ภาษีโรงเรือนที่ดิน ภาษีบำรุงท้องที่

10.KM เกร็ดความรู้ พรบ.ควบคุมอาคาร

11.KM คู่มือบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

12.แผนจัดการองค์ความรู้ในองค์กร เทศบาลตำบลแร่

13.KM คู่มือการปฏิบัติงาน เรื่องการแต่งกาย

14.KM การขออนุญาตมีบัตรฯ

 

การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) อ่านรายละเอียด

แผนการจัดการองค์ความรู้ประเด็นที่ 1 การส่งเสริมจิตสำนึกและพฤติกรรมการปฏิบัติงาน โดยยึดมั่นตามหลักธรรมมาภิบาลในการบริหารงานบุคคล
เกร็ดความรู้ห่างไกล สตง.
  • :กองทุนหลักประกันสุขภาพ - 02/03/2558
  • :การส่งเงินสมทบกองทุน ก.ส.ท. - 02/03/2558
  • :ค่าตอบแทนต่าง ๆ - 02/03/2558
  • :เงินทุนโครงการเศรษฐกิจชุมชน - 02/03/2558
  • :การจัดเก็บรายได้อื่น - 09/02/2558
  • :การจัดเก็บภาษีป้าย - 09/02/2558
  • :การจัดเก็บภาษีบำรุงท้องที่ - 09/02/2558
  • :การจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน - 09/02/2558
  • :การใช้และรักษารถยนต์ และเบิกค่าน้ำมันเชื้อเพลิง - 20/01/2558
  • :การจัดหาประโยชน์ในทรัพย์สิน - 02/01/2558
  • :หลักประกันสัญญา - 02/01/2558
  • :การจัดซื้อจัดจ้าง - 02/01/2558
  • รู้แล้วบอกต่อ บอกต่อเท่าที่รู้
    หลวงพ่อปราโมทย์ : ดูหาสาระหาแก่นสารไม่ได้เลยชีวิต ไม่รู้ทำไปเพื่ออะไร สนุกเพลินๆไปวันหนึ่งๆเท่านั้น เป็นชีวิตที่จะว่าเขาประมาทก็ว่าไม่ได้ เขาไม่รู้ มันน่าสงสาร คนในโลกนะมันก็ตะเกียกตะกายไป อยากหาความสุขกันทุกคนแหละ แต่มันหาไม่เป็น มีแต่ถูกหลอกให้มีแต่กิเลสตัณหา ถูกยั่วยุให้มีแต่กิเลสตัณหาหนักขึ้นเรื่อยๆ ยิ่งกิเลสเยอะเขาว่ายิ่งดีนะ เบื้องต้นก็ต้องเตรียมความพร้อมนะ จะหวังอะไรนี่เราไม่มีความหวัง ต้องเตรียมความพร้อมของพวกเราเอง พวกเราไม่เท่าไหร่หรอก คนที่เขาไม่ได้ศึกษาธรรมะ พวกนี้น่าสงสาร เขาไม่ได้โง่แต่เขาไม่มีโอกาสได้สัมผัสธรรมะ :อ่านต่อ
    ธรรมะที่แท้จริงคือการศึกษาตัวเราเอง
    หลวงพ่อปราโมทย์ : นี่เราค่อยๆศึกษาธรรมะนะ ธรรมะจริงๆไม่ใช่เรื่องลึกลับ ไม่ใช่เรื่องยาก ธรรมะจริงๆเป็นเรื่องของตัวเราเอง การปฏิบัติธรรมก็คือการเรียนรู้ตัวเอง เรียนรู้ตัวเราเอง อย่าไปวาดภาพการปฏิบัติธรรมว่าเป็นการนั่งสมาธิ เหาะได้ หายตัวได้ ทำอย่างโน้นอย่างนี้ได้ที่ผิดมนุษย์มนา ไม่ใช่ การศึกษาธรรมะที่แท้จริงก็คือการศึกษาตัวเราเอง ให้เข้าใจตัวเอง ถ้าเราเข้าใจตัวเราเอง เราก็เข้าใจคนอื่น เข้าใจสิ่งอื่น เข้าใจโลก : อ่านต่อ
    เรียนรู้ความจริงกับขัน 5 นั่นแหละเรียกว่าการปฏิบัติธรรม
    หลวงพ่อปราโมทย์ : สิ่งที่เรียกว่าตัวเราประกอบด้วยสองส่วนคือรูปธรรมกับนามธรรม ตัวเรามีรูปธรรมมั้ย ใครมี ใครไม่มี มีมั้ย? ใครไม่มีร่างกาย มีมั้ย? มีมั้ยสัตว์ที่ไม่มีร่างกาย มี พวกอรูปพรหม นามธรรมพวกเรารู้จักมั้ย พวกความรู้สึกนึกคิด พวกความรู้สึก พวกความรับรู้ ความรู้สึกก็คือความรู้สึกสุขความรู้สึกทุกข์ ความรู้สึกเฉยๆ การนึกก็คือ ความจำได้ ความหมายรู้ การคิด คือความปรุงดีปรุงชั่ว ความรับรู้ก็คือตัวจิตตัวใจ คือวิญญาณ ความรับรู้ คือนามธรรมพวกเรามีความรู้สึก นึก คิด แล้วก็ความรับรู้ ๔ อย่าง เรามีสิ่งเหล่านี้อยู่ในตัวอยู่แล้ว เราจะมาเรียนรู้มัน เรามีร่างกายอยู่แล้ว เราจะมาเรียนรู้มัน รวมแล้วเป็น ๕ อย่าง เรียกว่าขันธ์ ๕ เรียนรู้ความจริงของขันธ์ ๕ นั่นแหละเรียกว่าการปฏิบัติธรรม : อ่านต่อ
    หลักธรรมในการทำงาน
    คำว่า "พอเหมาะพอควร" นี้ เรามักใช้เรียกอย่างย่อ ๆ ด้วยคำว่า "พอ" หรือ "รู้จักพอ" ฉะนั้นคำว่า "รู้จักพอ" ในทางพุทธธรรม จึงมิได้หมายความว่าหยุดนิ่งหรืออยู่กับที่ แต่หมายถึง"รู้จักความพอเหมาะพอควร" ซึ่งเป็นเรื่องที่สำคัญยิ่งต่อการบริโภคโดยไม่จำกัดว่าบริโภคอาหารหรือบริโภคลาภ ยศ สรรเสริญ มิใช่ว่าเห็นอาหารอร่อยก็รับประทาน จนอึดอัด ในทำนองเดียวกัน มิใช่ว่าเห็นลาภ ยศ สรรเสริญ มากองอยู่เฉพาะหน้า ก็เร่งกอบโกยจนขาดสติ " การทำความเข้าใจเกี่ยวกับเป้าหมายชีวิตของบุคคลอาจพอศึกษาได้จากคำถามที่ว่า "แต่ละบุคคลต้องการอะไรในชีวิต" แม้คำถามนี้จะเป็นคำถามพื้นฐานคล้ายหญ้าปากคอก แต่บ่อยครั้งสำหรับคนไทยจำนวนไม่น้อยที่ไม่สามารถตอบคำถามนี้ได้อย่างทั่วไป ความต้องการของมนุษย์ยอมแตกต่างกันในรายละเอียด แต่ถ้าพินิจพิเคราะห์ให้กว้างไกลแล้วก็พอจะทราบได้ว่าความต้องการของคนไทยในยุคปัจจุบันมักมุ่งเน้นที่ความต้องการภายนอกเป็นสำคัญอย่างไรก็ดี หลักธรรมในพระพุทธศาสนาก็ได้ครอบคลุมถึงความต้องการขั้นพื้นฐานของชีวิตมนุษย์ซึ่งประกอบด้วยปัจจัยสี่ อันได้แก่อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย และยารักษาโรคปัจจัยนอกเหนือจากนี้ยังรวมถึงความต้องการทางเพศและความต้องการ เกียรติยศชื่อเสียง ซึ่งพุทธทาสภิกขุเรียกโดยย่อว่า "กิน กาม เกียรติ" ดังนั้นความต้องการภายนอกของมนุษย์จึงพอจัดกลุ่มได้คือ (1) ความต้องการพื้นฐาน เช่น อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค และเครื่องบำรุงความสุข (2) ความต้องการทางเพศ ความรัก และการเป็นเจ้าของ (3) ความต้องการชื่อเสียง เกียรติยศ ตำแหน่งหน้าที่การงาน และการยกย่องในสังคม :อ่านต่อ
    แผนการจัดการองค์ความรู้ประเด็นที่ 2 การพัฒนาความรู้แก่พนักงานส่วนตำบล
    1.หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรมบัญชีกลางปรับปรุงบัญชีค่าแรงงาน/ดําเนินการ ตารางค่าขนส่งวัสดุก่อสร้าง ตารางค่าดําเนินการและค่าเสื่อมราคาเครื่องจักร และตารางอัตราราคางานดิน สำหรับการคำนวณราคากลางงานก่อสร้างของราชการ หนังสือที่ กค 0421.5/ว399 ลงวันที่ 15 ตุลาคม 2558 เรื่อง การปรับปรุงรายละเอียดประกอบการถอดแบบคํานวณราคากลางงานก่อสร้าง :อ่านต่อ
    2.เกร็ดความรู้สู่อาเซี่ยน

    ดอกไม้ประจำชาติมาเลเซีย – ดอกพู่ระหง

    ดอกไม้ประจำชาติมาเลเซีย คือ ดอกชบาแดง หรือ ดอกพู่ระหง หรือ ดอกบุหงารายอ (Bunga Raya) ดอกบุหงารายอ ดอกไม้ประจำชาติมาเลเซีย ดอกบุหงารายอ หรือ ดอกพู่ระหง หรือ ดอกชบาแดง เป็นดอกของต้นชะบา ซึ่งเป็นพันธุ์ไม้ทรงพุ่มขนาดเล็ก เนื้อไม้อ่อน หักง่าย มีความสูงตั้ ... Read More ?

    ดอกไม้ประจำชาติบรูไน – ดอกส้านชะวา

    ดอกไม้ประจำชาติบรูไน คือ ดอกส้านชะวา (Dillenia) หรือ ดอกซิมปอร์ (Simpor) ดอกส้านชะวา เมื่อบานเต็มที่ ดอกส้านชะวา เกิดจากต้นไม้ที่ชื่อว่าต้นส้านชะวา ซึ่งเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง เมื่อโตเต็มที่จะสูงประมาณ 10 เมตร มีเปลือกไม้สีม่วงดำ มีใบเป็นใบเดี่ยวออกสลั ... Read More ?